มะเร็ง กับผลการวิจัย

เริ่มต้นจากการวิจัยผลมังคุด

เมื่อปี พ.ศ. 2520 คณะนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งประกอบด้วย ดร.พิเชษฐ์  วิริยะจิตรา, ดร.วิลาวัลย์  มหาบุษราคัม, ดร.เสาวลักษณ์  พงษ์ไพจิตร และนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดร.อำไพ  ปั้นทอง  รวมทั้งนักวิทยาศาสตร์สหวิชาการอีกหลายท่าน เริ่มทำการศึกษาสารธรรมชาติในผลมังคุด ด้วยการสกัดสารบริสุทธิ์ แล้วทำการทดสอบประโยชน์ในทางการแพทย์ด้านต่าง ๆ ก่อนจะสรุปได้ว่า สารในมังคุดที่มีคุณสมบัติในการสร้างเสริมสุขภาพ คือ สารกลุ่ม Xanthones แซนโทน ซึ่งในมังคุดมีสารกลุ่ม Xanthones แซนโทนนี้อยู่กว่า 40 ชนิด แต่มีเพียงบางชนิดเท่านั้นที่มีประโยชน์ บางชนิดอาจมีผลข้างเคียงได้ และชนิดที่มีประโยชน์ หากใช้น้อยเกินไปก็จะไม่แสดงสรรพคุณ แต่ถ้าใช้มากไปก็อาจจะเกิดโทษได้เช่นกัน ดังนั้นการนำ แซนโทน ไปใช้ในการเสริมสร้างสุขภาพ จึงจำเป็นต้องใช้ให้ถูกต้อง และใช้ในปริมาณที่เหมาะสมเท่านั้น

ผลจากการดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องของคณะนักวิจัยจากศูนย์วิจัย และพัฒนามังคุดไทย พบว่า Xanthones แซนโทน ที่มีสรรพคุณสูงสุดคือ GM-1 ซึ่ง GM-1 จีเอ็ม-วัน เป็นสารที่ปลอดภัย โดยปลอดภัยกว่สารที่ให้รสเปรี้ยวในส้มถึง 5 เท่า 

** อ่าน กลุ่มเสี่ยง และอาการ"มะเร็งเต้านม"
**บทความ "มะเร็งรังไข่ อาการ และกลุ่มเสี่ยง" 
 
ชมบทสัมภาษณ์ของผู้ที่มีปัญหา  แล้วมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วย ผลิตภัณฑ์จากมังคุด
คลิก ! หน้าจอด้านล่าง  

 

ประสบการณ์ผู้ใช้ผลิคภัณฑ์ งานวิจัย Operation Bim

 


เซลล์ T พิฆาตคืออะไรมีหน้าที่อะไรส่งผลต่อร่างกาย APCO

 


คุณนิพิฐนันท์ ไตรฤทธิ์กรณ์ อายุ 74 ปี 2562 ผู้เคยเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวระยะที่ 4

 


คำถาม-คำตอบ ผู้มีปัญหา... มะเร็ง
โดย รศ.ดร.ภญ.อำไพ ปั้นทอง

 


คำถาม-คำตอบ ผู้มีปัญหา... มะเร็งปอด
โดย รศ.ดร.ภญ.อำไพ ปั้นทอง


คำถาม-คำตอบ ผู้มีปัญหา... มะเร็งปากมดลูก
โดย รศ.ดร.ภญ.อำไพ ปั้นทอง


คำถาม-คำตอบ ผู้มีปัญหา... มะเร็งตับ
โดย รศ.ดร.ภญ.อำไพ ปั้นทอง


คำถาม-คำตอบ ผู้มีปัญหา... มะเร็ง
โดย รศ.ดร.ภญ.อำไพ ปั้นทอง


มะเร็งปากมดลูก


มะเร็งปอด และมะเร็งลำไส้ใหญ่


มะเร็งเต้านม


มะเร็งต่อมน้ำเหลือง และลามไปที่กระดูก


ปัญหาสุขภาพมะเร็ง


การสร้างภูมิคุ้มกันที่สมดุล
เป็นมิติใหม่ของการดูแลสุขภาพ