ประสบการณ์เบาหวาน

ความรู้เกี่ยวกับ โรคเบาหวาน

สาหตุการเกิดโรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน เป็นความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจาก เบต้าเซลล์ของตับอ่อนผลิตอินซูลินไม่เพียงพอ หรือตัวรับอินซูลินที่ผิวเซลล์เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน อินซูลินเป็นสารที่ช่วยในการนำน้ำตาลเข้าสู่เซลล์เพื่อสร้างเป็นพลังงาน ดังนั้นในผู้ที่เป็นเบาหวานจึงมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ และอินซูลินไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงทำให้ขาดฮอร์โมนอินซูลิน หรืออินซูลินออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มที่ (ภาวะดื้อต่ออินซูลิน)

ในผู้ป่วยเบาหวาน เม็ดเลือดขาวหลั่งสาร TNF-α, INF-ϒ และ IL-17 มากไปจนเกินความสมดุลโดย TNF-α และ  INF-ϒ จะเข้าไปทำลายเบต้าเซลล์ในตับอ่อน จนทำให้สร้างอินซูลินได้น้อยลง (เบาหวานชนิดที่ 1) และสารทั้งสองนี้ยังทำให้เกิดสภาวะดื้อต่ออินซูลินของเซลล์ (เบาหวานชนิดที่ 2) ส่วน IL-17 จำทำให้สภาวะการแพ้ภูมิตัวเองรุนแรงขึ้นจึงทำให้เบาหวาน ซึ่งเป็นอาการหนึ่งของการแพ้ภูมตัวเองรุนแรงขึ้นด้วย

ประเภทของเบาหวาน

1. เบาหวานประเภทที่ 1 (Type 1 Diabetes) เกิดจากการที่ตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินให้ได้เพียงพอ สาเหตุเพราะ เบต้าเซลล์ (beta cells) ของตับอ่อนถูกทำลายด้วยระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายเราเอง ดังนั้น ผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 1 จึงต้องได้รับอินซูลินด้วยการฉีด หรือใช้เครื่องปั้มอินซูลิน เพื่อช่วยให้ระบบการทำงานดีขึ้น

2. เบาหวานประเภทที่ 2 (Type 2 Diabetes) เป็นเบาหวานที่พบได้เป็นส่วนใหญ่ของประชาการ สาเหตุเกิดจากการที่ตับอ่อนยังสามารถสร้งอินซูลินได้เอง แต่ไม่เป็นที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย หรืออาจเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลลิน ซึ่งเบาหวานชนิดนี้ ผู้ป่วยต้องปฏิบัติตัวในการควบคุมอาหาร และใช้ยาชนิดกินเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด หรือถ้าน้ำตาลสูงมาก เกิดภาวะตึงเครียด แพทย์อาจให้ฉีดอินซูลิน

3. เบาหวานที่เกิดระหว่างการตั้งครรภ์ จะเห็นได้ว่า เมื่อสตรีตั้งครรภ์ แพทย์จะมีการตรวจน้ำตาลในเลือดเพื่อดูผลระดับน้ำตาล เป็นการป้องกันดูแลของแม่ตั้งครรภ์ ไม่ให้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินไป ซึ่งจะส่งผลเสียต่อเด็กในท้อง และหากสตรีมีครรภ์ มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขณะตั้งครรภ์ อาจมีความเสี่ยงสูงเป็นโรคเบาหวาน หลังการคลอดบุตรแล้วเช่นกัน แต่โดยส่วนใหญ่แล้วน้ำตาลจะกลับมาเป็นปกติดังเดิมหลังกาาคลอดบุตร

4. เบาหวานจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น โรคตับอ่อน โรคทางพันธุกรรม โรคเนื้องอกของต่อมหมวกไตที่ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน เป็นต้น

 

อาการที่อาจเกิดขึ้นได้จากการเป็นโรคเบาหวาน

มีอายุมากกว่า 40 ปี  และส่วนใหญ่พบในผู้ที่มีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน อาการข้างเคียงของโรคเบาหวานมัเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ ค่อยๆ สะสม หรืออาจไม่ปรากฏอาการเลยก็เป็นได้เช่นกัน แต่หากระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นมากเป็นเวลานานๆ  จะส่งผลให้เกิดการทำลายหลอดเลือดและระบบประสาทส่วนปลาย แลถ้าไม่ได้รับการรักษาอาจนำไปสู่อาการแทรกซ้อนอื่น ๆ ตามมา เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะแทรกซ้อนทางสายตา สายตาพร่ามัวเป็นฝ้า ภาวะแทรกซ้อนทางไต จนถึงขั้นไตวายเรือรัง  และมีแผลเรื้อรังจากเบาหวาน เป็นต้น

 

ฟังคลิป ประสบการณ์จากผุ้ใช้งานวิจัยจากมังคุด

 

คุณจิดาพา (ต้อย) มีพ่อเป็นเบาหวาน แม่เป็นมะเร็ง ก็เลยหมั่นตรวจสุขภาพทุกปี มีปีนึงตรวจแล้วเจอน้ำตาลสูงเลย 300 และเริ่มขึ้นตาแล้ว มีอาการชาที่แขนซ้ายเรื่อยลงไปที่ขา และที่เท้า จนเต๊ะโต๊ะเลือดไหล เล็บหลุดยังไม่รู้ตัว เพราะอาการชา หมอแนะนำให้ฉีดอินซูลิน และจะลอกตาที่เป็นฝ้าขึ้น แต่คุณจิดาพา ขอหมอกลับไปดูแลตัวเองก่อน ยังไม่ยอมให้หมอทำอะไร จนมาเจองานวิจัย Bim100 และเปิดใจทดลองใช้งานวิจัย ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น...( เชิญชมรายละเอียดจากคลิปค่ะ ) 

 

 

คุณสำเนียง ไม่รู้ตัวมาก่อนว่าตัวเองเป็นเบาหวาน เกิดอาการน็อคต้องหามส่งโรงพยาบาลกระทันหัน ตรวจพบน้ำตาลขึ้นสูง 600 หมอให้ยามาทาน ทานอยู่ 6 เดือน น้ำตาลลดเหลือ 250 และคงที่ที่ 250 ตลอด ไม่ต่ำกว่านี้อีกเลย จนมีคนรู้จักแนะนำให้ทานงานวิจัย Bim100 และได้ทดลองใช้งานวิจัย จนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ...( เชิญชมรายละเอียดต่าง ๆ จากคลิปค่ะ )

 


เริ่มต้นจากการฉี่บ่อย ทั้งวัน ทั้งคืน และหิวน้ำตลอด แต่ไม่คิดว่าจะเป็นโรคอะไร เพราะเหล้าไม่กิน บุหรี่ไม่สอบ ไปพบหมอ หมอบอกเป็นเบาหวาน ตรวจน้ำตาลขึ้น 180 หมอให้ยาเบาหวานมาทาน ต่อมาหมอตรวจว่าเป็นความดัน ก็มียาความดันมาทานอีก ต่อมามีโรคกระเพาะ ทานยาโรคกระเพาะอีก และสุดท้ายหมอพบว่าเป็นไขมันในเลือดสูง ให้ยาลดไขมันอีก 1 ตัว ทานไปทานมาหมอบอกไตเสื่อม ทานยาเบาหวานไม่ได้แล้ว ต้องฉีดอินซูลินอย่างเดียว แต่ยาตัวอื่น คือลดความดัน ลดไขมัน ก็ยังต้อทานอยู่ จากนั้น 4 ปี ต้องไปทำงานที่ต่างประเทศ ก็ฉีดอินซูลินตลอด จนกลับมาเมืองไทย มีคนแนะนำให้มาฟังงานวิจัยบิม100 และได้ทดลองใช้งานวิจัย พบว่า ตัวเองมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น...( เชิญชมรายละเอียดในคลิปค่ะ )

มะเร็งเต้านม